Outsourcing, Offshoring, and IT as a Subsidiary
· Reason to outsource
- Desire to focus on core competency
- Cost reduction
- Improve quality
- Increase speed to market
- Faster innovation
· Risk Associated with Outsourcing
- Shirking : Vendor นั้นหลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามสัญญาที่ได้มีการระบุไว้
- Poaching : นำระบบที่พัฒนาให้เรานั้นไปใช้ร่วมกับลูกค้าอีกราย
- Opportunistic repricing: ขอค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่ตกลงไว้ในสัญญา
· Strategy for Risk Management in Outsourcing
- Understand project ทำความเข้าใจใน Project ของเราให้ชัดเจน เพื่อที่จะสามารถกำหนดเงื่อนไขในสัญญาได้อย่างรัดกุม
- Divide & conquer แบ่ง Project ขนาดใหญ่เป็น phase เล็กๆแล้วค่อยๆทำทีละส่วน
- Align incentives อาจมีการให้รางวัล(based on activity) เพื่อเป็นแรงจูงใจ
- Write short –period contracts
- Control subcontracting บางครั้งที่vendor ของเราอาจทำการ outsource อีกทีหนึ่ง ดังนั้นเราก็ควรที่จะคอยติดตามการทำงานของบริษัทนั้นๆด้วย
- Do selective outsourcing เลือก outsource ในส่วนที่ไม่ใช่ Core business ขององค์กร
· ปัจจัยที่ควรคำนึงถึงเมื่อทำ Offshore outsourcing
- Business & Political environment in selected country ประเทศที่เราเลือกไป outsource นั้นอาจมีลักษณะวัฒนธรรม การเมือง การคิดภาษี หรือต้นทุนที่แตกต่างจากประเทศเรา
- Quality of infrastructure ประเทศที่เราเลือกไป outsource นั้นมี facility ต่างๆรองรับหรือไม่
- Risk example IT competency, human capital, the economy, legal environment, and cultural differences ประเทศที่เราเลือกไป outsource นั้นมีทรัพยากรบุคคลที่มีทักษะหรือไม่ มีสภาพเศรษฐกิจหรือกฎหมายที่เอื้อต่อการเข้าไปลงทุนหรือไม่
· งานที่บริษัทนั้นไม่ควรทำการ Outsourcing
- งานที่ไม่ได้มีลักษณะเป็น routine หรือ มี process ที่ชัดเจน
- งานที่เป็นส่วนสำคัญของการทำงานของบริษัท (Core business) หรือต้องอาศัยการ control สูง
- สิ่งที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญา
- งานที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญหลายผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อให้การทำงานเป็นไปอย่างเหมาะสม
Acquiring and Developing Business Applications and Infrastructure
· Acquisition Process of IT Application
1. Planning, Identifying, and justifying IT based systems ระบุระบบสารสนเทศที่มีความจำเป็นหรือที่ตรงกับความต้องการของ stakeholder โดยอาจมาจากผู้ใช้งานในองค์กร, vendor, ข้อบังคับทางกฎหมาย หรือ คำแนะนำจากผู้ตรวจสอบบัญชี ซึ่งในการวางแผนนั้นต้องมีความเข้าเข้าใจในกระบวนการทางธุรกิจ และสามารถระบุวัตถุประสงค์ของการทำระบบสารสนเทศนั้นๆได้ มีคำนึงถึงความเสี่ยงหรือความล้มเหลวที่อาจเกิดขึ้นเมื่อนำระบบสารสนเทศดังกล่าวมาใช้ รวมทั้งคำนึงถึงต้นทุนค่าใช้จ่าย และการวางแผนเรื่องเวลาในการพัฒนาระบบ โดยมีตั้ง milestones สำหรับระบุระยะเวลาในการทำงาน นอกจากนั้นยังต้องศึกษาถึงประเด็นความสามารถในการเชื่อมต่อข้อมูลไปสู่ระบบ และผลของการนำระบบนั้นๆมาใช้อาจส่งผลไปสู่การลดการจ้างงานก็เป็นได้
2. Creating an IT architecture ต้องมีการวางโครงสร้างด้าน IT ที่ชัดเจน
3. Selecting an acquisition option
3.1 Build in house พัฒนาขึ้นมาเองภายในองค์กร
3.2 Vendor build custom made system
3.3 Buy existing application and install with/without modifications
3.4 Lease
3.5 Enter partnership or alliance
3.6 Use combination
4. Testing, installing, integrating & deploying IT application มีการ testing และ integrate กับระบบสารสนเทศเดิมขององค์กร
5. Operations, maintenance & updating ตรวจสอบ operation และ performanceของระบบใหม่ว่าเป็นอย่างไร มีส่วนใดบ้างที่ต้องได้รับการปรับปรุง
· เปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของวิธีในการได้มาซึ่งระบบสารสนเทศ
- การซื้อ ข้อดี สามารถนำระบบมาใช้ได้รวดเร็ว ประหยัดค่าใช้จ่ายกว่าการพัฒนาภายในองค์กรเอง ไม่ต้องจ้างผู้เชี่ยวชาญสำหรับการใช้โปรแกรม
ข้อเสีย อาจไม่ตรงกับความต้องการขององค์กรทั้งหมด เชื่อมต่อกับระบบเก่ายาก ปรับปรุงเวอร์ชันใหม่ไม่ได้ ไม่สามารถควบคุมระบบได้ทั้งหมด
v ดังนั้นบริษัทควรซื้อเมื่อแน่ใจว่ามีฟังก์ชันที่ครอบคลุมทุกความต้องการขององค์กรและสามารถปรับแต่งเพิ่มเติมได้
- การเช่า ข้อดี ได้ของ ready-made แม้ไม่ต้องจ่ายเต็มจำนวน สามารถได้ลองใช้ดูก่อนเพื่อเป็นการทดสอบระบบหากระบบดังกล่าวไม่ตรงกับความต้องการก็สามารถหรับเปลี่ยนได้ ทำให้ยืดหยุ่น นอกจากนั้นยังอาจได้เซอร์วิสบางอย่างเพิ่มเติม
ข้อเสีย ราคาสูงหากเช่าต่อเนื่องไปนานๆ
No comments:
Post a Comment